สารสนเทศเพื่อการบริหารงานด้านการบริหารทั่วไป
การบริหารงานด้านการบริหารทั่วไป หมายถึง กระบวนการที่ช่วยประสาน ส่งเสริมสนับสนุนการบริหารงานอื่นๆ โดยมีการพัฒนาระบบและเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ การจัดทำสำมะโนนักเรียนและการรับนักเรียน การดูแลอาคารสถานที่ ระบบสาธารณูปโภคและสภาพแวดล้อม การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานการจัดวางระบบการควบคุมภายในหน่วยงาน การจัดสวัสดิการ สวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
1. การพัฒนาระบบและเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ
มีสารสนเทศรองรับการดำเนินงานดังนี้ (1) การสร้าง พัฒนาเครือข่ายและบริหารจัดการระบบข้อมูลสารสนเทศที่มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงภายในและภายนอกเขตพื้นที่การศึกษา และส่วนกลางอย่างเป็นระบบ (2)การพัฒนาบุคลากรให้เข้าถึงเครือข่าย สร้างความเข้าใจแก่บุคลากรในการประสานงาน และประยุกต์ใช้ข้อมูลสารสนเทศสำหรับการบริหาร ประสานเชื่อมโยงประยุกต์ใช้สารสนเทศอย่างต่อเนื่อง(3) การประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศอย่างต่อเนื่อง (4) การสร้าง หรือพัฒนา หรือนำนวัตกรรม ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ และ (5) สรุปรายงานผลการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ และปรับปรุง พัฒนา
- แผนพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา
- คำสั่ง คณะกรรมการจัดทำข้อมูลสารสนเทศ
- คำสั่ง คณะกรรมการเพื่อบริหารจัดการ (Cyber)
- การประยุกต์ใช้ Google Data Studio เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน
- โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพฯ (CANVA)
- การสร้างเว็บเพจองค์ความรู้ (DMC+BOBEC)
- การประชุมทางไกลฯ (Conference)
- การเชื่อมโยงระบบจัดเก็บข้อมูลฯ
- การประชาสัมพันธ์ รูปแบบจดหมายข่าว
- การประชาสัมพันธ์ รูปแบบ Social Media
- การประชาสัมพันธ์ รูปแบบ วีดิทัศน์
- การประชาสัมพันธ์ รูปแบบ การแต่งเพลงเผยแพร่
- สารสนเทศทางการศึกษาเผยแพร่บนเว็บไซต์ เชื่อมโยงส่วนกลาง (ข้อมูลสถานศึกษา)
- สารสนเทศทางการศึกษาเผยแพร่บนเว็บไซต์ เชื่อมโยงส่วนกลาง (ข้อมูลนักเรียน)
- สารสนเทศทางการศึกษาเผยแพร่บนเว็บไซต์ เชื่อมโยงส่วนกลาง (ข้อมูลสิ่งก่อสร้าง)
2. การจัดทำสำมะโนนักเรียน และการรับนักเรียน
มีสารสนเทศรองรับการดำเนินงานดังนี้ (1) การส่งเสริม สนับสนุนจัดทำสำมะโนประชากรวัยเรียนที่จะเข้ารับการบริการทางการศึกษาในเขตบริการของสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาให้เป็นปัจจุบัน ทั่วถึงเขตบริการและครอบคลุมประชากรวัยเรียนตามสำมะโนประชากรวัยเรียน และรับนักเรียนนอกเขตบริการ (2) การส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษา ดำเนินการรับนักเรียนให้เป็นไปตามแนวปฏิบัติการรับนักเรียน (3) การประสานและเชื่อมโยงข้อมูลความร่วมมือกับชุมชน ท้องถิ่นและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (4) รายงานข้อมูลสารสนเทศสำมะโนนักเรียนและการรับนักเรียนและนำข้อมูลไปใช้ในการจัดทำแผนการรับนักเรียน
- ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการรับนักเรียน(รร.)
- คำสั่ง แต่งตั้งคณะกรรมการ ศูนย์การรับนักเรียน
- การประสานงานเชื่อมโยงหน่วยงานภายนอก (ข้อมูล ทร.14)
- เขตบริการโรงเรียน ปีการศึกษา 2566
- แผนการรับนักเรียน ปีการศึกษา 2565
- การรับนักเรียน ปีการศึกษา 2566
- ประชุมคณะกรรมการรับนักเรียน ปีการศึกษา 2566
- การจัดทำแผนชั้นเรียนเต็มรูป ระยะ 5 ปี (ปีการศึกษา 2565 – 2569)
- เขตพื้นที่บริการสถานศึกษา ปีการศึกษา 2567
- รายงานการประชุมคณะกรรมการรับนักเรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษา ครั้งที่ 1/2565
- รายงานการประชุมคณะกรรมการรับนักเรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษา ครั้งที่ 1/2566
- การสร้างองค์ความรู้ระบบรายงานผลการรับนักเรียน
- การดำเนินงานการรับนักเรียน
3. การดูแลอาคารสถานที่ ระบบสาธารณูปโภค และสภาพแวดล้อม
มีสารสนเทศรองรับการดำเนินงานดังนี้ (1) การมอบหมายภารกิจผู้รับผิดชอบ ในการดูแลอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม ทั้งในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา (2) แผนผังอาคารสถานที่ มีการวางแผน พัฒนา และบำรุงรักษาอาคารสถานที่ ระบบสาธารณูปโภคและสภาพแวดล้อม ให้สะอาด เป็นระเบียบ ถูกสุขลักษณะ ทั้งในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา (3) การดูแล ปรับปรุง ซ่อมแซม ตกแต่ง บำรุงรักษาอาคารให้มีสภาพสะอาด เป็นระเบียบ ถูกสุขลักษณะ นำเทคโนโลยีมาใช้ในการรักษาความปลอดภัย ทันสมัย พร้อมใช้ อย่างสม่ำเสมอ ทั้งในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา (4) การติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงานและรายงานผลการดำเนินการพร้อมทั้งนำผลการประเมินไปพัฒนา แก้ไข ปรับปรุง เพื่อให้อาคารสถานที่ มีสภาพสะอาด เป็นระเบียบ ถูกสุขลักษณะ และปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง ทั้งในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา (5) การจัดกิจกรรมรณรงค์ปลูกจิตสำนึก สุขนิสัยที่ดีในการใช้อาคาร สถานที่ และสภาพแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง ทั้งในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา
- ระบบรายงานข้อมูลสถานการณ์ภัยพิบัติ (Disaster Report : D-Report)
- กระบวนการดำเนินงานด้านสิ่งก่อสร้างของสถานศึกษาให้พร้อมใช้งาน (บูรณาการ 3 กลุ่ม)
- คำสั่ง มอบหมายภารกิจด้านอาคารสถานที่ฯ (สพท.+ รร.)
- ข้อมูลสารสนเทศด้านสิ่งก่อสร้าง (สพท.+ รร.)
- แผนดำเนินงานธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (BCP)
- แผนเผชิญเหตุเพื่อเสริมสร้างความปลอดภัย (Incident Action Plan)
- รายงานผลการดำเนินงานการส่งเสริมสภาพแวดล้อมฯ
- มาตรการรักษาความปลอดภัยการดูแล
- การรณรงค์ให้ใช้แก้วส่วนตัว
- กระบวนการรื้อถอนอาคารสิ่งปลูกสร้าง
- ข้อมูลสิ่งก่อสร้างระดับสถานศึกษา (สพท.จัดทำเอง)
- ข้อมูลสิ่งก่อสร้างระดับสถานศึกษา (เชื่อมโยงส่วนกลาง)
- คำสั่ง แต่งตั้งคณะทำงานจัดทำแผนเผชิญเหตุ เพื่อเสริมสร้างความปลอดภัย (Incident Action Plan)
- แผนเผชิญเหตุ เพื่อเสริมสร้างความปลอดภัย (Incident Action Plan) (สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา)
- แผนเสริมสร้างและแผนเผชิญเหตุเพื่อความปลอดภัยสถานศึกษา (สถานศึกษา)
- การบริหารจัดการน้ำสะอาดเพื่อการบริโภคในสถานศึกษา
- กิจกรรมการตรวจสอบการบริการกำจัดปลวกภายในสำนักงาน
- การจัดห้องน้ำหรือพื้นที่สำหรับเพศทางเลือก ในการตรวจสารเสพติด
- แนวทางการปฏิบัติเพื่อให้เกิดความปลอดภัยทางไซเบอร์
- การดำเนินงานโครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข ปีการศึกษา 2565
- โรงเรียนโครงการด้านสิ่งแวดล้อม (รร.วัดประสาทนิกร)
4. การพัฒนามาตรฐานและการปฏิบัติงาน
มีสารสนเทศรองรับการดำเนินงานดังนี้ (1) การพัฒนามาตรฐานและตัวชี้วัดการปฏิบัติงานในทุกภารกิจ (2) การติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง (3) การปรับปรุง พัฒนาทั้งมาตรฐานการปฏิบัติงานและระบบการประเมินมาตรฐานการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง (4) การให้การส่งเสริม สนับสนุน แนะนำ ช่วยเหลือ ปรับปรุง พัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานและระบบการประเมินมาตรฐานการปฏิบัติงานแก่สถานศึกษา และ (5) การรายงานผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานและตัวชี้วัดการปฏิบัติงานและนำผลมาใช้ในการปรับปรุง พัฒนาอย่างต่อเนื่อง
- เว็บเพจรวม มาตรฐานและตัวชี้วัด
- แผนการบริหารจัดการเพื่อรองรับการติดตาม
- รายงานผลการดำเนินงาน รอบ 6 เดือน
- รายงานการขับเคลื่อนนโยบาย จุดเน้น
- รายงานผลการดำเนินงาน ปีงบฯ พ.ศ.2564
- รายงานโครงการการประชุมปฏิบัติการเสริมสร้างฯ
- ถอดบทเรียนผลการประเมินเพื่อตัวชี้วัด KRS ปีงบ 64
- รายงานการถอดบทเรียน KRS
- รายงานการถอดบทเรียน มาตรฐาน สพท.
- รายงานการถอดบทเรียน PMQA 4.0
5. การจัดวางระบบการควบคุมภายในหน่วยงาน
มีสารสนเทศรองรับการดำเนินงานดังนี้ (1) การวางแผนจัดวางระบบการควบคุมภายในที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาการดำเนินงานตามภารกิจ (2) การวิเคราะห์ความเสี่ยงและจัดวางลำดับความสำคัญของความเสี่ยงและวางแผนปรับปรุงตามแนวทางการควบคุมภายในของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (3) การดำเนินการควบคุมภายในตามหลักเกณฑ์วิธีการที่กำหนดอย่างชัดเจน (4) การติดตามและประเมินผลการควบคุมภายในอย่างต่อเนื่อง (5) การรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ทันตามระยะเวลาที่กำหนดและนำผลมาใช้ในการวางแผนการควบคุมภายในอย่างต่อเนื่อง
- สรุปภาพรวม การประเมินผลการควบคุมภายในของโรงเรียน
- ภาพที่เกี่ยวข้องในการจัดทำระบบการควบคุมภายใน
- กิจกรรมการสร้างองค์ความรู้ “ระบบการควบคุมภายใน และการบริหารจัดการความเสี่ยง”
- เว็บเพจ การเสริมสร้างองค์ความรู้ “การประเมินผลการควบคุมภายใน”
- คำสั่งคณะกรรมการประเมินผลการควบคุมภายใน ประจำปี พ.ศ.2565
- คำสั่งคณะทำงานการจัดทำแผนบริหารจัดการความเสี่ยงของ สพป.ชุมพร เขต 2 ปีงบประมาณ พ.ศ.2566
- (บันทึกข้อความ) การวางแผนการดำเนินงานการควบคุมภายใน (ภายในสพท.)
- หนังสือชี้แจงการดำเนินงานระบบการควบคุมภายในฯ (สถานศึกษา)
- ระเบียบวาระการประชุมฯ ประเด็น การควบคุมภายในฯ
- รายงานการประชุมฯ ประเด็น การควบคุมภายในฯ
- (ภาพถ่าย) กิจกรรมการประชุมประเด็นระบบการควบคุมภายในฯ
- (บันทึกข้อความ) รายงานการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
- การจัดส่งรายงานการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน > สพฐ.
6. การจัดสวัสดิการ สวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษา
มีสารสนเทศรองรับการดำเนินงานดังนี้ (1) การวางแผนและกำหนดรูปแบบการดำเนินงานการประชาสัมพันธ์การจัดสวัสดิการ สวัสดิภาพให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้ทราบเข้าใจ (2) การรับฟังความคิดเห็นการจัดสวัสดิการและสวัสดิภาพของบุคลากรในหน่วยงาน และกำหนดให้มีผู้รับผิดชอบประสานงานการดำเนินงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง (3) การดำเนินการให้บริการสวัสดิการและสวัสดิภาพตามแนวทางและเงื่อนไข และไม่ขัดต่อระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และ (4) การสรุปผลและรายงานผลการจัดสวัสดิการ สวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา และนำผลมาจัดสวัสดิการและสวัสดิภาพเป็นขวัญกำลังใจอย่างต่อเนื่อง
- เว็บเพจ กองทุนสวัสดิการ & สวัสดิภาพ ครูและบุคลากรทางการศึกษา
- รายรับ – รายจ่ายกองทุนชาตะสัมพันธ์
- ระเบียบฯ ว่าด้วยการจัดสวัสดิการกองทุนชาตะสัมพันธ์
- ระเบียบฯ ว่าด้วยกองทุนสวัสดิการออมทรัพย์ฯ
- การอบรมออนไลน์ สมาชิก กบข.
- การแจ้งช่องทางการรับฟังเกี่ยวกับการดำเนินงานเงินทุนหมุนเวียนเพื่อแก้ไขปัญหาหนี้สินข้าราชการครู
- การแจ้งประชาสัมพันธ์การขอขยายเวลาชะลอการดำเนินการทางกฎหมายฯ
- ตัวอย่าง หนังสือตอบขอบคุณกองทุนชาตะสัมพันธ์
- (สวัสดิการ) หนังสือเชิญประชุมคณะกรรมการกองทุนสวัสดิการออมทรัพย์ฯ (1-2566)
- (สวัสดิการ) ภาพถ่ายการประชุมคณะกรรมการกองทุนสวัสดิการออมทรัพย์เพื่อลดปัญหาภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ (1-2566)
- การเปิดรับสมัครสมาชิก ช.พ.ค. ช.พ.ส. สำหรับบุคลากร
- การจ่ายเงินสงเคราะห์บุตรผ่านบริการพร้อมเพย์
- การสำรวจความต้องการกู้ยืมเงินทุนหมุนเวียนเพื่อแก้ไขปัญหาหนี้สินข้าราชการครู
7. การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
มีสารสนเทศรองรับการดำเนินงานดังนี้ (1) การวางแผนและกำหนดรูปแบบการดำเนินงานการประชาสัมพันธ์การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา (2) การกำหนดผู้รับผิดชอบการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาและประสานงานการดำเนินงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง (3) การประสานและสร้างเครือข่ายความร่วมมือจากบุคคล หน่วยงานสถาบัน องค์กรภาครัฐ และเอกชน เข้ามาระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา (4) การจัดทำแนวทางการปฏิบัติการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา (5) การดำเนินการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาหลากหลายช่องทาง และ (6) การสรุปผลและรายงานผลการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา และนำผลไปใช้ในการวางแผนและพัฒนาการศึกษา
- รายละเอียดเกี่ยวกับการมอบทุนการศึกษา
- การให้ทุนการศึกษามูลนิธิทวี บุญยเกตุ
- (ทุนการศึกษา) แก่เด็กกำพร้าหรือเด็กอนาถาจากสถานการณ์ COVID-19
- (ทุนการศึกษา) โครงการ 910 สภาสมาคมสตรีแห่งชาติในพระบรมราชินูปถัมภ์
- (ทุนการศึกษา) กิจกรรมการรับทุนการศึกษาโดยความร่วมมือของโรงเรียนทุ่งตะโกวิทยา (นางละม่อม ก้อนมณี)
- (ทุนการศึกษา) กิจกรรมการรับทุนการศึกษา (ปตท.สผ.)
- กิจกรรม การขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ประชุมร่วม)
- งบประมาณจาก อบจ.ชุมพร เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาโรงเรียนในสังกัด ปีงบประมาณ พ.ศ.2566-2570
- กิจกรรม รับมอบหนังสือจาก ธนาคารกรุงเทพฯ + สำนักพิมพ์ประพันธ์สาส์น
- ทุนการศึกษา – ผลกระทบสืบเนื่องจากสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนใต้
- ตัวอย่างกิจกรรมสนับสนุนการระดมทรัพยากร (ภายนอก)