การพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้

การพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 2

การพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้

การพัฒนาสู่องค์การแห่งการเรียนรู้ หมายถึง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีกระบวนการพัฒนาคน พัฒนางาน เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้สมัยใหม่ (Modern Learning Organization) ที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาองค์การ มีการส่งเสริมให้เกิดการจัดการความรู้ เพื่อทำให้บุคลากรในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีความรู้ มีความสามารถในการคิดเชิงระบบ สามารถรับรู้และปรับเปลี่ยนกรอบความคิด มีการบริหารองค์การที่มุ่งสร้างบรรยากาศในการสร้างจิตสำนึกให้บุคลากรเกิดการพัฒนาตนเอง พัฒนางาน และพัฒนาองค์การมีการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมสู่เป้าหมายความสำเร็จที่ต้องการ โดยใช้กระบวนการวิจัย

รายงานผลการดำเนินงานจัดการความรู้ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565
DOWNLOAD

1. การส่งเสริมให้บุคลากรทุกคน มีความกระตือรือร้น ค้นหาความรู้ มีความคิดเชิงระบบ สามารถเรียนรู้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลง

มีการส่งเสริมให้บุคลากรทุกคน มีความกระตือรือร้นในการศึกษาค้นหาความรู้ มีความคิดเชิงระบบ มีความสามารถรับรู้ เรียนรู้และนำไปใช้ ก้าวทันการเปลี่ยนแปลง

  • แผนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Action Plan)
  • แผนพัฒนาบุคลากร
  • รายงานผลการพัฒนาบุคลากร
  • โครงการพัฒนาบุคลากร
  • รายงานโครงการพัฒนาบุคลากร
  • การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร
  • ประกาศเจตนารมณ์การขับเคลื่อนหน่วยงานให้เป็ฯองค์กรคุณธรรม
  • รายงานผลการติดตาม โครงการพาน้องกลับมาเรียน 
  • มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
  • แนวทางการพัฒนาตนเองเพื่อเข้ารับการคัดเลือกรางวัล
  • แผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN)
  • ทักษะ องค์ความรู้ที่เหมาะสมต่อการพัฒนา
  • แนวทางการพัฒนาบุคลากรเพื่อรองรับระบบราชการ 4.0 ในศตวรรษที่ 21
  • รายงานสรุปการพัฒนาบุคลากรภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
  • วีดิทัศน์ การสร้างวัฒนธรรมองค์กร โดยการมีส่วนร่วมในการร่วมแสดงความคิดเห็นเพื่อนำไปสู่การพัฒนาองค์กรที่มีคุณภาพ

2. การส่งเสริมให้เกิดการจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) และการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC)

(1) มีการส่งเสริมให้เกิดการจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) (2) มีการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ระดับกลุ่ม ระดับองค์การ และระหว่างระดับองค์การ (3) มีการสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการทำ KM / PLC อย่างชัดเจน และ (4) นำผลการดำเนินงานที่ได้จากการทำ KM / PLC ไปใช้ในการพัฒนาองค์การ

3. การส่งเสริม สนับสนุนให้มีแหล่งเรียนรู้ ด้วยรูปแบบและวิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้บุคลากรมีโอกาสได้เรียนรู้ตามบริบทของเขตพื้นที่การศึกษา

มีการส่งเสริม สนับสนุนให้มีแหล่งเรียนรู้ ด้วยรูปแบบและวิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้บุคลากรมีโอกาสได้เรียนรู้ตามบริบทของเขตพื้นที่การศึกษา และมีการใช้แหล่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

4. การนำองค์ความรู้มาพัฒนาตนเอง พัฒนางานและพัฒนาองค์การโดยใช้กระบวนการวิจัย

มีการนำกระบวนการวิจัย หรือเทคนิคการวิจัยมาประยุกต์ใช้เพื่อการพัฒนาตนเอง พัฒนางานภายในกลุ่ม พัฒนางานระหว่างกลุ่มและภายในองค์กร

  • รายงานผลความพึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
  • รายงานผลการดำเนินงานการส่งเสริมสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน
  • การประยุกต์ใช้ G Suite เพื่อสนับสนุนการพัฒนางาน
  • ถอดบทเรียนการผลการประเมินตัวชี้วัด
  • ขั้นตอนการดำเนินงาน (FlowChart)
  • ผลงานที่แสดงความสำเร็จและเป็นแบบอย่างได้ (Best Practice)
  • การอบรมวิธีการใช้ฐานข้อมูลงานวิจัยทางการศึกษา (ThaiEdresearch)
Q&A สวัสดีค่ะ ติดต่อสอบถามข้อมูลได้ที่นี่ค่ะ